DJ-Menu

คณาจารย์สาขาวิชาการระหว่างประเทศ

peera

ผศ.ดร.พีระ เจริญวัฒนนุกูล (Asst.Prof.Dr.Peera Charoenvattananukul)
สถานที่ทำงาน: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ถนนพระจันทร์ กรุงเทพฯ 10200
หมายเลขโทรศัพท์: 02-613-2301
อีเมล์: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. , This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.


 

  
  

การศึกษา:


ความสนใจทางวิชาการ:

 




ผลงานวิชาการบางส่วน:

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 









หนังสือ:

 



ทุนการศึกษาที่ได้รับ:

Ph.D. Politics and International Studies, University of Cambridge, United Kingdom
M.Phil. International Relations and Politics, University of Cambridge, United Kingdom
รัฐศาสตร์บัณฑิต (การเมืองและการระหว่างประเทศ ภาคภาษาอังกฤษ) (เกียรตินิยมอันดับ 1), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (เน้นประเด็น Status Concern และ Ontological Security)
นโยบายต่างประเทศไทย
ประวัติศาสตร์การพัฒนาระบอบระหว่างประเทศ
นโยบายต่างประเทศของรัฐขนาดเล็ก
ไทยกับสงครามโลกครั้งที่สอง

- Peera Charoenvattananukul, Window-dressing policy: Thailand's misuse of soft power as cursory practice, Asian Politics and Policy, 5 (2), 295-313, https://doi.org/10.1111/aspp.12688
- พีระเจริญวัฒนนุกูล, "โค่นยักษ์เพื่อสถานภาพ: Social Stigmatisation of Status Dissatisfaction กับกรณีศึกษาสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น 1904-05", รัฐศาสตร์นิเทศ 7, ฉ. 1 (2564): 97-182

- Peera Charoenvattananukul, Feigned Resignation as Political Strategy: Cracking the Mysterious Case of Phibunsongkhram’s Reversal of Resignation in 1943, South East Asia Research (accepted on 25 January 2021)
- Peera Charoenvattananukul, "The End of Compromise: Political Meanings of Thailand’s First National Day Celebrations on 24 June 1939", Asian Studies Review (accepted on 21 September 2020).
- พีระเจริญวัฒนนุกูล, "การแสวงหาสถานะและการยอมรับ: พฤติกรรมก้าวร้าวของเยอรมนี ก่อนการอุบัติขึ้นของมหาสงคราม," รัฐศาสตร์สาร 40, 3 (กันยายน-ธันวาคม 2562): 94-137
- พีระ เจริญวัฒนนุกูล, "การแสวงหาสถานะและการยอมรับของไทย: เหตุแห่งการทวงคืนดินแดนจากอินโดจีนฝรั่งเศส ใน พ.ศ. ๒๔๘๓", ศิลปวัฒนธรรม (กันยายน 2562)
- พีระ เจริญวัฒนนุกูล, "พินิจแนวคิด Soft Power อย่างจริงจัง: ปัญหาและความเข้าใจผิดในการประยุกต์ใช้แนวคิดนี้ในงานวิชาการไทย," รัฐศาสตร์นิเทศ 4, ฉ. 1-2 (กรกฎาคม-ธันวาคม พ.ศ. 2561): 237-277
- Peera Charoenvattananukul, “Beyond Bamboo Diplomacy: the Factor of Status Anxiety and Thai Foreign Policy Behaviours”, Routledge Handbook of Contemporary Thailand, edited by Pavin Chachavalpongpun (Oxon: Routledge 2019)
- พีระ เจริญวัฒนนุกูล และ จิตติภัทร พูนขำ, "ยุทธศาสตร์ใหญ่ของเมตเตอร์นิคกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ," รัฐศาสตร์ 38/2 (2560).
- พีระ เจริญวัฒนนุกูล, "การลาออกแต่ไม่ยอมลาออกของจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ. 2486," ศิลปวัฒนธรรม (สิงหาคม 2559).
- จิตติภัทร พูนขำ และ พีระ เจริญวัฒนนุกูล, โลก(ไร้)WMDs: ระบอบระหว่างประเทศและการควบคุมอาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง. (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2559).

- ปาฏิหาริย์นั้นมีจริง: ความบังเอิญของไทยในการเอาตัวรอดจากอังกฤษหลังสงครามโลกครั้งที่สอง (กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์, 2566)
- Peera Charoenvattananukul. Ontological Security and Status-Seeking: Thailand's Proactive Behaviours during the Second World War (London: Routledge 2020)

Cambridge-Thai Foundation Scholarship (สำหรับระดับปริญญาเอก)